THE 2-MINUTE RULE FOR สังคมผู้สูงอายุ

The 2-Minute Rule for สังคมผู้สูงอายุ

The 2-Minute Rule for สังคมผู้สูงอายุ

Blog Article

ทางด้านการคลัง เมื่องบประมาณรายจ่ายเพิ่มขึ้น ภาครัฐจำเป็นต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายทางด้านสาธารณสุข การแพทย์ บริการสังคมแก่ผู้สูงอายุมากขึ้นและต้องเพิ่มงบประมาณรายจ่ายเพื่อสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ยากไร้และการเก็บภาษีรายได้น้อยลงเนื่องจากมีวัยผู้สูงอายุซึ่งไม่มีรายได้มีสัดส่วนที่มากขึ้น

รายจ่ายรับสังคมสูงวัย กำลังกดดันหนี้สาธารณะ

โรคหลอดเลือดสมองเกิดจากการไหลเวียนของเลือดไปยังสมองหยุดชะงัก สมองจึงขาดเลือดไปเลี้ยง เป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ที่ถือว่าร้ายแรง

ในส่วนของผู้สูงอายุเองก็ต้องการทำงานต่อเนื่องทั้งจากศักยภาพที่มีอยู่ และภาระรับผิดชอบที่ยังคงมีอยู่ โดยพร้อมที่จะปรับรูปแบบของงานและค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายของตัวเอง เพราะชีวิตหลังเกษียณควรเป็นชีวิตที่ผู้สูงวัยได้เลือกเอง

การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งระบบสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุในด้านการเงินและสุขภาพซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโดยไม่ต้องพึ่งพาการทำงานเพียงอย่างเดียวเพิ่มมากขึ้น

รัฐควรส่งเสริมการประกอบอาชีพ หรือฝึกอาชีพที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุหารายได้เพื่อเลี้ยงชีพต่อไป

ลดขนาดตัวอักษร ขนาดตัวอักษรปกติ ความคมชัดสูง ความคมชัดเชิงลบ ความคมชัดปกติ เปิดอ่านด้วยเสียง

สังคมผู้สูงอายุในปัจจุบันและเศรษฐกิจในประเทศไทย

ศูนย์ผู้สูงอายุศูนย์ดูแลผู้ป่วยติดเตียงศูนย์ดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมศูนย์ดูแลและฟื้นฟูผู้ป่วยหลอดเลือดสมองศูนย์ดูแลฟื้นฟูผู้ป่วยหลังผ่าตัดคลินิกกายภาพบำบัด

การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุส่งผลกระทบต่อหลายด้านของสังคม ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ เพราะการลดลงของกำลังแรงงาน การเพิ่มขึ้นของภาระทางการคลังในการดูแลผู้สูงอายุ  ด้านสังคม เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างครอบครัว ความต้องการบริการดูแลผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น  และด้านสาธารณสุข เพราะความต้องการบริการทางการแพทย์และสุขภาพที่เพิ่มขึ้น discover this การเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ

การเตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุไม่ใช่เพียงหน้าที่ของภาครัฐหรือองค์กรใดองค์กรหนึ่งเท่านั้น แต่เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกภาคส่วนในสังคม ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน ไปจนถึงระดับประเทศ การสร้างความตระหนักรู้และการเตรียมความพร้อมตั้งแต่วันนี้จะช่วยให้เราสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้นได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน

ในปัจจุบันที่ผู้คนต่างเข้าถึงระบบการศึกษามากขึ้น มีการศึกษาที่สูงขึ้น ทำให้ผู้หญิงมีโอกาสทำงานนอกบ้านมากขึ้น ส่งผลให้การมีบุตรลดลง อีกทั้งการย้ายถิ่นฐานจากชนบทสู่เมืองทำให้รูปแบบการใช้ชีวิตเปลี่ยนไป และส่งผลต่อการมีบุตร

ความต้องการบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เพิ่มขึ้น พร้อมทั้งภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่เพิ่มขึ้น ทั้งต่อภาครัฐและครัวเรือน  ความชุกของการเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจ และความจำเป็นในการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ

โครงสร้างประชากรของไทยมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างต่อเนื่อง โดยประชากรวัยผู้สูงอายุมีสัดส่วนเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะที่สัดส่วนประชากรวัยเด็กและวัยทำงานปรับตัวลดลง ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลไทยจึงได้ออกนโยบายเพื่อรองรับการเข้าสู่สังคมสูงอายุในด้านต่างๆ อาทิ การจัดให้มีระบบบำนาญสำหรับแรงงานทั้งในระบบและนอกระบบ การจัดให้มีบริการดูแลสุขภาพที่บ้าน รวมทั้งการบริการการรักษาพยาบาล และการให้เบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีพในช่วงบั้นปลายของชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ

Report this page